วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ   เขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี  เขต ๒
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้            ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่            เรื่อง   ขุนช้างขุนแผน
ช่วงชั้นที่        ปีที่ ๓    รายวิชา  ภาษาไทย    รหัสวิชา   ท๔๓๑๐๑       เวลาเรียน     ชั่วโมง
******************************************************************************
๑.สาระการเรียนรู้
        สาระการเรียนรู้หลัก
        สาระที่    :  วรรณคดีและวรรณกรรม
       สาระการเรียนรู้ที่นำมาบูรณาการ
       สาระที่ ๑ : การอ่าน
       สาระที่ ๒ : การเขียน
       สาระที่ ๓ : การฟัง ดู  พูด
       สาระที่ ๔ : หลักการใช้ภาษา
      บูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆ :  กลุ่มสาระฯสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
.มาตรฐานการเรียนรู้
     ท ๕.: เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
 และนำมาใช้ในชีวิตจริง
. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
      ท ๕.๑.๑ : สามารถอ่านบทกวีนิพนธ์ ประเภทกาพย์ ร่าย โคลง ฉันท์ ลิลิต บทละคร และวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น นวนิยาย สารคดี และบทความ สามารถใช้หลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้นพิจารณาเรื่องที่อ่าน โดยวิเคราะห์องค์ประกอบของงานประพันธ์แต่ละชนิดเพื่อประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้อหา และคุณค่าทางสังคมและนำไปใช้ในชีวิตจริง
.ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
๔.๑อ่านเนื้อเรื่องแล้วเขียนสรุปใจความสำคัญได้
๔.๒วิเคราะห์วิจารณ์สารจากการฟังและการดูได้
๔.๓พูดแสดงทรรศนะจากการฟังและการดูได้
๔.๔ใช้วิจารณญาณแปลความ ตีความ ขยายความเรื่องที่อ่านได้
๔.๕สรุปคุณค่าวรรณคดีด้านภาษา ด้านเนื้อหา และด้านสังคมได้
๔.๖วิเคราะห์ความเชื่อในวรรณคดีได้
๔.๗มีความรู้เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด
๔.๘มีมารยาทในการฟัง พูด การอ่าน การเขียน
.สาระสำคัญ
-          เรื่องขุนช้างขุนแผน
-          การอ่านเนื้อเรื่องอย่างเข้าใจ
-          การวิเคราะห์วิจารณ์สารจากการฟังและการดู
-          การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
-          การพินิจคุณค่าวรรณคดี
-          การวิเคราะห์ความเชื่อในวรรณคดี
-          ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด  (คิดวิเคราะห์   คิดสังเคราะห์)
.กิจกรรมการเรียนรู้

ชั่วโมงที่ ๑

๑.นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน  ภายในเวลาที่ครูกำหนด
.ให้นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน จากหนังสือเรียน จากนั้นครูสุ่มเรียกให้นักเรียนเล่าเรื่อง
โดยสรุป  ครูให้นักเรียนเขียนสรุปย่อเนื้อเรื่อง โดยศึกษาใบความรู้เรื่องการเขียนย่อความที่ครูนำมา
ชั่วโมงที่ ๓ - ๔
๑.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม     กลุ่ม พิจารณาเนื้อเรื่องในประเด็นต่อไปนี้  พร้อมอธิบายและยกตัวอย่างคำประพันธ์ประกอบคำอธิบาย
·       กลุ่มที่ ๑ วิถีชีวิตของคนในเนื้อเรื่อง
·       กลุ่มที่ ๒ ความเชื่อ
·       กลุ่มที่ ๓ นิสัยของนางวันทอง
·       กลุ่มที่ ๔ นิสัยของพลายงาม
·       กลุ่มที่ ๕ นิสัยของขุนแผน
๒.แต่ละกลุ่มส่งผู้แทนออกมานำเสนอผลงาน ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาความถูกต้อง
๓.ให้นักเรียนบันทึกความรู้และความคิดที่ได้ลงในสมุดแบบฝึกหัด
ชั่วโมงที่ ๕ - ๖
๑.ให้นักเรียนจัดกิจกรรมการโต้วาทีโดยให้นักเรียนคัดเลือกตัวแทนที่จะเป็นผู้โต้วาทีจำนวน ๒ ฝ่าย
ในญัตติที่ว่า  นางวันทองหญิงสองใจจริงหรือ
๒.ครูและนักเรียนทบทวนขั้นตอนและวิธีการการโต้วาทีที่ถูกต้อง
๓.ตัวแทนนักเรียนออกมาโต้วาที โดยมีนักเรียนที่เหลือเป็นผู้ชมและผู้ตัดสิน หลังจากจากโต้วาทีจบแล้วครูให้นักเรียนพูดแสงความคิดเห็นในญัตตินี้อีกครั้งหนึ่ง
๔.ครูให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่อง การคิดวิเคราะห์และคิดสังเคราะห์  จากหนังสือแบบเรียน ครูซักถามความเข้าใจพร้อมอธิบายเพิ่มเติม
๖.ครูให้นักเรียนเขียนวิเคราะห์ตัวละครจากเรื่องขุนช้างขุนแผน
๗.ครูคัดเลือกผลงานของนักเรียนที่ดีจัดแสดงบนป้ายนิเทศให้นักเรียนศึกษาและวิจารณ์
ชั่วโมงที่ ๗
๑.ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยใช้กิจกรรมกลุ่มเดิม แต่ละกลุ่มรวมกันคัดเลือกคำประพันธ์ที่ประทับใจกลุ่มละ ๑๐ บท
๒.แต่ละกลุ่มร่วมกันพิจารณาถึงเหตุผลที่คัดเลือกคำประพันธ์ดังกล่าว พร้อมบันทึกลงในใบกิจกรรม จากนั้นสมาชิกภายในกลุ่มฝึกซ้อมการอ่านคำประพันธ์ให้มีความไพเราะถูกต้องตามฉันทลักษณ์และพร้อมเพรียง
ชั่วโมงที่ ๘
๑.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อเรื่องอีกครั้งหนึ่ง
๒.นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน  ภายในเวลาที่ครูกำหนด
๓.ครูให้นักเรียนเขียนสังเคราะห์เนื้อหาเรื่องขุนช้างขุนแผนในประเด็นต่อไปนี้(ทำเป็นการบ้าน)
   ลักษณะนิสัยเด่นของตัวละครสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
.สื่อการเรียนการสอน
·       ใบความรู้เรื่องการย่อความ
·       หนังสือแบบเรียนภาษาไทย
·       แบบทดสอบก่อน-หลังเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน
.การวัดและประเมินผล
.๑ผู้ประเมิน       w   ครูประเมินนักเรียน
                             w   นักเรียนประเมินกันเอง
.๒สิ่งที่ต้องการประเมิน  
..๑ด้านความรู้(ประเมินจากการตอบคำถาม  การทำกิจกรรมกลุ่ม ใบงาน)
..๒ด้านทักษะ(สังเกตจากการใช้ภาษาทั้งการฟัง  การพูด  การอ่าน  การเขียน)
..๓ด้านคุณธรรม
-สังเกตจากความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
-สังเกตความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
-ความขยันใฝ่รู้
.๓ประเด็นการประเมิน
..๑การตอบคำถาม
-การตอบคำถามของครูในขณะที่ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
..๒การทำกิจกรรมกลุ่ม
-การกล้าแสดงออกในการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
..๓การทำใบงาน : ทำใบงานที่มอบหมายให้ทำในแต่ละกิจกรรม
.๔เกณฑ์การให้คะแนน
.แบบสังเกตการนำเสนอผลงาน
                  -            คะแนน  ปรับปรุง
         ๑๐      ๑๓        คะแนน   พอใช้
         ๑๔      ๑๗        คะแนน   ดี
         ๑๘       ๒๐      คะแนน   ดีมาก
.แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม
                  -            คะแนน  ปรับปรุง
         ๑๐      ๑๓        คะแนน   พอใช้
         ๑๔      ๑๗        คะแนน   ดี
         ๑๘       ๒๐      คะแนน   ดีมาก


                                                                              ลงชื่อ…………………………………….ผู้สอน
                                                                                            (นางจอมขวัญ      ทองอยู่ยืด)






















ใบกิจกรรม   เรื่อง ขุนช้างขุนแผน   ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
๑)อ่านบทนำเรื่องแล้วบันทึกสาระสำคัญ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒)อ่านเนื้อเรื่องแล้วสรุปย่อเนื้อเรื่อง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรู้ เรื่อง การเขียนย่อความ

      ÿ    การย่อความ คือการจับใจความสำคัญของเรื่องราวที่ได้อ่านได้ฟัง นำมาเขียนเรื่องขึ้นใหม่ให้คงใจความครบถ้วน เป็นข้อความที่กระชับรัดกุม โดยใช้ถ้อยคำสำนวนของผู้ย่อเอง
          การจับใจความหรือเขียนย่อความได้ดี นักเรียนจะต้องอ่านหรือฟัง ให้เข้าใจ จับใจความสำคัญให้ได้ และนำใจความสำคัญมาเขียนเรียบเรียงใหม่ให้ต่อเนื่องกัน ด้วยสำนวนภาษาที่สละสลวย
      ÿ     รูปแบบของการย่อความ
        การเขียนย่อความมีใจความ ๒ ตอน คือย่อหน้าแรกกล่าวถึงที่มาของเรื่องที่จะย่อว่าเป็นเรื่องอะไร ของใคร จากหนังสืออะไร ตอนไหน  ย่อหน้าที่สอง จึงเป็นใจความที่ย่อ ตัวอย่าง
๑.ย่อนิทานเรื่อง.........................................................ของ....................................................
จาก...........................................................................ความว่า
๒.ย่อคำบรรยายเรื่อง.........................................................ของ..............................................
จาก...........................................................................ความว่า
๓.ย่อข่าวเรื่อง.........................................................ของ....................................................
จาก...........................................................................ความว่า
๔.ย่อบทความเรื่อง.........................................................ของ....................................................
จาก...........................................................................ความว่า
๕.ย่อบทร้อยกรองเรื่อง.........................................................ของ...............................................
จาก...........................................................................ความว่า
        ÿ      ถ้อยคำและภาษาที่ใช้ในย่อความ
๑.ข้อความในอัญประกาศ ให้ถอดออกเก็บแต่ใจความ โดยใช้สรรพนามบุรุษที่ ๓ ทั้งหมด
๒.ไม่ใช้อักษรย่อในการย่อความ
๓.คำศัพท์ยากๆ หรือคำศัพท์ยาว ที่เป็นคำเรียกชื่อเฉพาะ ให้เปลี่ยนมาเป็นคำสามัญ เช่น
พระบุรพมหากษัตราธิราช รามาธิบดีที่ ๑ ใช้ว่า พระเจ้าอู่ทอง สมเด็จท้าวโกสีย์สหัสนัยเทวาธิราช ใช้ว่า พระอินทร์ เป็นต้น
๔.คำราชาศัพท์ต้องเขียนให้ถูกต้อง ไม่ตัดทอน
๕.ใช้ภาษาง่ายๆให้ได้ความกระชับ และเรื่องราวต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้นจนจบ


ใบกิจกรรม   เรื่อง ขุนช้างขุนแผน   ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
๑)ร่วมกันพิจารณาคำประพันธ์ที่ประทับใจ (๑๐ บท) พร้อมบอกเหตุผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒)ยกตัวอย่างคำประพันธ์ในเรื่องขุนช้างขุนแผน ที่แสดงลักษณะที่กำหนดให้ต่อไปนี้
·       การมีสัมมาคารวะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
·       ความรักความอาทรของแม่ที่มีต่อลูก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
·       ความเมตตาปรานีของผู้ใหญ่ต่อผู้น้อย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
...........................................................................................................................................
·       ความรักและความห่วงใยระหว่างสามีและภรรยา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่............เรื่อง ขุนช้างขุนแผน
รายวิชาภาษาไทย  ระดับชั้น ม.๖
ชื่อ-นามกุล...........................................................
เลขที่....................ห้อง....................

ให้นักเรียนพิจารณาคำประพันธ์จากเรื่องขุนช้างขุนแผนตามหัวข้อที่กำหนดให้
   )  คุณค่าด้านวรรณศิลป์
สะท้อนถึงอารมณ์โกรธแค้นและสะเทือนใจ
ตัวอย่าง
...ยิ่งคิดเดือดดาลทะยานใจ               ฉวยได้กระดานชะนวนมา
ร่างฟ้องท่องเทียบให้เรียบร้อย            ถ้อยคำถี่ถ้วนเป็นหนักหนา...
คำประพันธ์ที่พบ





มีการพรรณนาถึงเรื่องฝันร้าย
...ครั้งนี้น่าจะมีอันตราย                ฝันร้ายสาหัสตัดตำรา
พิเคราะห์ดูทั้งยามอัฐกาล               ก็บันดาลฤกษ์แรงเป็นหนักหนา  
มิรู้ที่จะแถลงแจ้งกิจจา                  กอดเมียเมินหน้าน้ำตากระเด็น...
คำประพันธ์ที่พบ





การบรรยายโวหาร             ฟ้าขาวดาวเด่นดวงสว่าง                          จันทร์กระจ่างทรงกลดหมดมฆสิ้น จึงเซ่นเหล้าข้าวปลาให้พรายกิน                  เสกขมิ้นว่านยาเข้าทาตัว
คำประพันธ์ที่พบ





เชิงเปรียบเทียบ
อีวันทองตัวมันเหมือนแก้ว                              ถ้าตัดโคนขาดแล้วก็ใบเหี่ยว ใครจะควรสู่สมอยู่กลมเกลียว                           ให้เด็ดเดี่ยวรู้กันแต่วันนี้
คำประพันธ์ที่พบ






สัมผัสแบบกลอนแปด
           ครานั้นพระองค์ทรงธรณินทร์               หาได้ยินวันทองทูลขึ้นไม่
พระตรัสความถามซักไปทันใด                         ฤามึงไม่รักใครให้ว่ามา
คำประพันธ์ที่พบ





กวีแทรกอารมณ์ขันในการแต่ง
            ขุนช้างเห็นข้าไม่มาใกล้                      ขัดใจลุกขึ้นทั้งแก้ผ้า แหงนเถ่อเป้อปังยืนจังกา                                 ย่างเท้าก้าวมาไม่รู้ต้ว ยายจันงันงกยกมือไหว้                                   นั่นพ่อจะไปไหนพ่อทูนหัว ไม่นุ่งผ่อนนุ่งผ้าดูน่ากลัว                                 ขุนช้างมองดูตัวก็ตกใจ
คำประพันธ์ที่พบ






    คุณค่าด้านสังคม
แสดงค่านิยมและความเชื่อของคนในสังคมสมัยอยุธยาซึ่งแม้ว่าจะไม่อาจประเมินข้อเท็จจริงทางสังคมได้เช่นเดียวกันกับเอกสารทางประวัติศาสตร์  แต่วรรณคดีเรื่องนี้ก็เป็นภาพสะท้อนที่แสดงให้เห็นโลกทัศน์ของครอบครัวขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ว่ามีความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์อย่างสุดสูงเพียงใด สะท้อนให้ว่าในสังคมสมัยนั้นกษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยึ่งมีอำนาจอยู่เหนือกฎหมายและสะท้อนให้เห็นในสมัยนั้นจะมีการตีฆ้องบอกเวลาและจะมีเรื่องเกี่ยวความเชื่อเช่นเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ   คาถาอาคม   เรื่องโชคชะตาดวงของคน






ชื่อ-นามสกุล......................................................................................ห้อง..............เลขที่.............
                                        ใบกิจกรรมเรื่อง ขุนช้างขุนแผน

ให้นักเรียนเติมข้อความต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
๑.ขุนช้างขุนแผนแต่เดิมใช้การเผยแพร่โดยวิธีใด............................................................................
๒.คำประพันธ์ที่ใช้แต่งเรื่องขุนช้างขุนแผนคือ...............................................................................
๓.เหตุผลที่ต้องแต่งเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นตอนๆเพราะ................................................................
๔.สาเหตุที่เรื่องขุนช้างขุนแผนสูญหายไปหลายตอน คือ................................................................
.........................................................................................................................................................
๕.มีการรวบรวมเรื่องขุนช้างขุนแผนขึ้นใหม่ในสมัย......................................................................
๖.ขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในสมัย...............................................................................
๗.เหตุใดจึงกล่าวว่าเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง.......................................................
..........................................................................................................................................................
๘.เริ่มมีการจารึกเรื่องขุนช้างขุนแผนในสมัย...................................................................................
๙.วัดเจ้าพระยาไทย ปัจจุบันคือ........................................................................................................
๑๐. พลายแก้ว ขุนช้างและนางพิมเป็นคนจังหวัด............................................................................
๑๑.บิดา  พลายแก้ว คือ........................................... มารดา คือ...........................................................
     บิดา  ขุนช้าง     คือ........................................... มารดา คือ...........................................................    
     บิดา  นางพิม    คือ...........................................  มารดา คือ...........................................................
๑๒.เรื่องขุนช้างขุนแผนสะท้อนสภาพสังคมของคนไทยในสมัยนั้นว่าอย่างไร
...........................................................................................................................................................









โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ  เขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี  เขต ๒
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้            ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่            เรื่อง   ไตรภูมิพระร่วง
ช่วงชั้นที่        ปีที่ ๓   รายวิชา  ภาษาไทย    รหัสวิชา   ท๔๓๑๐๑       เวลาเรียน       ชั่วโมง
******************************************************************************
๑.สาระการเรียนรู้
        สาระการเรียนรู้หลัก
        สาระที่    :  วรรณคดีและวรรณกรรม
       สาระการเรียนรู้ที่นำมาบูรณาการ
       สาระที่ ๑ : การอ่าน
       สาระที่ ๒ : การเขียน
       สาระที่ ๓ : การฟัง ดู  พูด
       สาระที่ ๔ : หลักการใช้ภาษา
      บูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆ :  กลุ่มสาระฯสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
.มาตรฐานการเรียนรู้
     ท ๕.: เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
 และนำมาใช้ในชีวิตจริง
. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
      ท ๕.๑.๑ : สามารถอ่านบทกวีนิพนธ์ ประเภทกาพย์ ร่าย โคลง ฉันท์ ลิลิต บทละคร และวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น นวนิยาย สารคดี และบทความ สามารถใช้หลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้นพิจารณาเรื่องที่อ่าน โดยวิเคราะห์องค์ประกอบของงานประพันธ์แต่ละชนิดเพื่อประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้อหา และคุณค่าทางสังคมและนำไปใช้ในชีวิตจริง
.ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
๔.๑อ่านเนื้อเรื่องแล้วเขียนสรุปใจความสำคัญได้
๕.๒วิเคราะห์วิจารณ์สารจากการฟังและการดูได้
๕.๓ใช้วิจารณญาณแปลความ ตีความ ขยายความเรื่องที่อ่านได้
๕.๔อธิบายความแตกต่างระหว่างภาษาไทยสมัยก่อนกับสมัยปัจจุบันได้
๕.๕สรุปคุณค่าวรรณคดีด้านภาษา ด้านเนื้อหา และด้านสังคมได้
๕.๕ใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจและเขียนเรียงความโลกจินตนาการและโลกอุดมคติได้
๕.๖มีมารยาทในการฟัง พูด การอ่าน การเขียน
.สาระสำคัญ
·       ไตรภูมิพระร่วง
·       การใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจ
·       การอ่านเนื้อเรื่องอย่างเข้าใจ
·       การวิเคราะห์วิจารณ์สารจากการฟังและการดู
·       การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
·       การพิจารณาภาษาสมัยก่อนเปรียบเทียบกับสมัยปัจจุบัน
·       การพินิจคุณค่าวรรณคดี
·       เรียงความโลกจินตนาการและโลกอุดมคติ
.กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
๑.นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องไตรภูมิพระร่วง  ภายในเวลาที่ครูกำหนด
๒. ครูนำเรื่องที่เกี่ยวกับนรกและสวรรค์มาให้นักเรียนศึกษา
๓.ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเนื้อหาจากการศึกษาเอกสารที่ครูนำมา โดยครูตั้งประเด็นคำถามว่า
(นักเรียนมีความเห็นต่อเรื่องที่อ่านอย่างไรบ้าง) ครูเรียกถามนักเรียนประมาณ ๑๐ คน
๔.นักเรียนศึกษาเรื่องการใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจและเรียงความโลกจินตนาการและโลกอุดมคติ
 (หนังสือแบบเรียนภาษาเพื่อพัฒนาการคิด)
๕.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาจากหนังสือแบบเรียนที่นักเรียนศึกษาต่อจากนั้นครูให้นักเรียน
เขียนเรียงความโน้มน้าวใจให้ผู้อ่านเห็นความสำคัญของการทำความดีกลัวการทำบาป(ทำเป็นการบ้าน)
ชั่วโมงที่ ๓-๔
๑.ครูนำผลงานที่ดีจากชั่วโมงที่ผ่านมาติดป้ายนิเทศให้นักเรียนได้ชม
๒.ครูยกสำนวนที่น่าสนใจจากในเนื้อหามาให้ครูและนักเรียนร่วมมาพิจารณาถึงความหมายและความแตกต่างกับการใช้ภาษาในปัจจุบัน
๔.เมื่อนักเรียนเห็นแนวทางในการพิจารณาและมีความเข้าใจแล้วครูแบ่งกลุ่มนักเรียน
เพื่อปฏิบัติงานกลุ่ม ดังนี้
q       หาข้อความตอนที่เป็นบทพรรณนาที่ดี พร้อมอธิบายความหมาย
q       หาสำนวนที่ใช้ในเรื่องที่แตกต่างจากในปัจจุบัน พร้อมอธิบายถึงความแตกต่าง
๕. ครูให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงาน เมื่อนำเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว ครูและนักเรียนร่วมสรุปประเด็นจากงานกลุ่มโดยให้นักเรียนบันทึกลงในสมุดของตนเอง
๖.ครูมอบหมายให้นักเรียนสรุปเนื้อเรื่องที่สำคัญในบทเรียน

ชั่วโมงที่ ๕-๗
๑.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อร่วมกันคิดแสดงบทบาทสมมติในหัวข้อ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
๒.นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติตามที่ได้รับมอบหมายจนครบทุกกลุ่ม
๓.ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นที่สำคัญจากการแสดงของแต่ละกลุ่มและคัดเลือกผลงานที่แสดงได้ดีที่สุด
๔.ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันสรุปคุณค่าจากเรื่องไตรภูมิพระร่วงด้านภาษา ด้านเนื้อหา
 และด้านสังคม
ชั่วโมงที่ ๘
๑.ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงาน
๒.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาในบทเรียน พร้อมร่วมกันวิเคราะห์คุณค่าของงานประพันธ์และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ชั่วโมงที่ ๙
๑.ครูนำวีดีทัศน์เกี่ยวกับคุณธรรมที่ดีมาให้นักเรียนชม
๒.นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องไตรภูมิพระร่วง  ภายในเวลาที่ครูกำหนด
.สื่อการเรียนรู้
    .แถบวีดีทัศน์เรื่องคุณธรรม
   .หนังสือแบบเรียนภาษาไทย
   .ใบความรู้เรื่องตายแล้วเกิดใหม่
   .แบบทดสอบก่อน-หลังเรียนเรื่องไตรภูมิพระร่วง 
.การวัดและประเมินผล
.๑ผู้ประเมิน       w   ครูประเมินนักเรียน
                             w   นักเรียนประเมินกันเอง
.๒สิ่งที่ต้องการประเมิน  
..๑ด้านความรู้(ประเมินจากแบบทดสอบ  การตอบคำถาม  การทำกิจกรรมกลุ่ม)
..๒ด้านทักษะ(สังเกตจากการใช้ภาษาทั้งการฟัง  การพูด  การอ่าน  การเขียน)
..๓ด้านคุณธรรม
-สังเกตจากความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
-สังเกตความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
-ความขยันใฝ่รู้
-สังเกตความซื่อสัตย์สุจริตตนเอง
-การกล้าแสดงออกในการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน

.๓ประเด็นการประเมิน
..แบบทดสอบ
-แบบทดสอบจากการทำใบงานการจับใจความ
..การตอบคำถาม
-การตอบคำถามของครูในขณะที่ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
..การทำกิจกรรม
-การทำกิจกรรมกลุ่ม(การทำใบงานกลุ่ม)
-การแสดงความคิดเห็นในขณะดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
.๔เกณฑ์การให้คะแนน
..๑เกณฑ์การประเมินการทำกิจกรรมกลุ่ม

ประเด็นการ
ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน


.ความรับผิดชอบต่อหน้าที่

ทุกคนมีหน้าที่และรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง

มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ ๑ คน
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ๒ คน
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ๒ คนขึ้นไป
.เวลา

เสร็จก่อนกำหนดและงานมีคุณภาพ
เสร็จตามกำหนดและงานมีคุณภาพ
เสร็จไม่ทันตามกำหนดแต่งานมีคุณภาพ
เสร็จไม่ทันตามกำหนดและงานไม่มีคุณภาพ
.ความร่วมมือในการทำงาน
ทุกคนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่
๘๐%ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
๖๐%ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความ
ร่วมมือ
๖๐%ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความ
ร่วมมือ
.ภาษา
.ใช้ภาษาเหมาะสม
.ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
ใช้ภาษาเข้าใจยาก
ใช้ภาษาไม่ค่อยเหมาะสมและเข้าใจยาก






..๒เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน

ประเด็นการ
ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน


.เนื้อหา
เนื้อหาตรงกับข้อเท็จจริง
มีเนื้อหาตรงประเด็นในเนื้อหาบ้าง
มีเนื้อหาตรงประเด็นในเนื้อหาเพียง ๑ ประเด็น
เนื้อหาไม่ตรงประเด็นในเนื้อหา
.องค์ประกอบการวิเคราะห์
วิเคราะห์ได้ครบทุกประเด็นตามที่ได้
มอบหมาย

วิเคราะห์ได้ตรงประเด็นเพียง
๑ ประเด็น
วิเคราะห์ได้ไม่ค่อยตรงประเด็นตามที่ได้มอบหมาย
วิเคราะห์ได้ไม่ตรงประเด็นตามที่ได้
มอบหมายเลย
.การใช้ภาษา
.ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
.ใช้ภาษาเหมาะสม
.มีการใช้สำนวนโวหาร
.ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
.ใช้ภาษาเหมาะสม
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย

ใช้ภาษาเข้าใจยาก
และไม่ใช้ภาษาเหมาะสม



.๕เกณฑ์การประเมินผล
-ในการทำแบบทดสอบหลังเรียนนักเรียนต้องได้ผลการเรียนที่มากกว่าการทดสอบก่อนเรียน
  


                                                                              ลงชื่อ…………………………………….ผู้สอน
                                                                                         (นางจอมขวัญ      ทองอยู่ยืด)







โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ  .ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี

แบบทดสอบ  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง



ชื่อ นามสกุล……………………………….เลขที่...............ห้อง.............
จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
๑)ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ.....................................................................
๒)นักเรียนคิดว่าสาเหตุใดกระทรวงศึกษาธิการถึงนำเรื่องไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิมาให้นักเรียนศึกษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๓)จงเขียนลำดับขั้นตอนการกำเนิดของมนุษย์จากวรรณคดีเรื่องไตรภูมิพระร่วง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
๔)จงยกสำนวนเปรียบเทียบจากวรรณคดีเรื่องไตรภูมิพระร่วง จำนวน ๕ สำนวน
ตัวอย่าง  อันว่าสายสะดือแห่งกุมารนั้นกลวงดั่งสายก้านบัวอันมีชื่อว่าอุบล
………………………………………………………………………………………………….......................................................................๒………………………………………………………………………………………………….......................................................................๓………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๕)มนุษย์ที่ลงมาจากสวรรค์เพื่อมาเกิดนั้นเมื่ออยู่ในท้องจะมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๖)มนุษย์ที่ลงมาจากนรกเพื่อมาเกิดนั้นเมื่ออยู่ในท้องจะมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๗)วรรณคดีเรื่องไตรภูมิพระร่วงนำคำสอนทางพุทธศาสนาเรื่องใดมาเสนอบ้าง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๘)ส่วนตัวกุมารนั้นบ่มิไหม้ เพราะว่าเป็นธรรมดาด้วยบุญกุมารนั้นจะเป็นคนแลจึงให้บมิไหม้บมิตายเพื่อดั่งนั้นแลข้อความดังกล่าวหมายความว่าอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๙)กุมารที่อยู่ในท้องผู้แต่งได้เปรียบเทียบเหมือนกับสิ่งใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………





๑๐)เมื่อนักเรียนศึกษาเอกสารที่ครูนำมาให้แล้ว  นักเรียนเกิดความคิดอย่างไรบ้าง(อธิบาย)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................................................................................................................










การเรียนรู้ภาษาไทย                    โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ            .ราชบุรี

ใบงาน เรื่องไตรภูมิพระร่วง                   ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

ชื่อ-นามสกุล..........................................................................เลขที่............................ห้อง................
จงศึกษาเนื้อหาเรื่องไตรภูมิพระร่วงหน้า ๑๒๑ ๑๓๐ แล้วตอบคำถามต่อไปนี้
๑)ไตรภูมิพระร่วงเป็นพระราชนิพนธ์ของ....................................................................................................................................................
๒)พญาลิไทย เป็นนัดดาของ................................................................................................................................
๓) พระร่วง หมายถึง..........................................................................................................................................
๔)ไตรภูมิพระร่วง เดิมเรียกว่า...............................................................................................................................
๕)ไตรภูมิพระร่วง มีความหมายว่า........................................ได้แก่...................................................
๖)กามภูมิ หมายถึง..........................................................................................................................
๗)กามภูมิแบ่งออกเป็นดินแดน....................ฝ่าย และเป็นโลกย่อยได้.....................แห่ง ได้แก่
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๘)รูปภูมิเป็นดินแดนที่...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๙)อรูปภูมิเป็นดินแดนที่..........................................................................................................................................................
๑๐)ไตรภูมิมีจุดมุ่งหมายเพื่…………………...............……………………..………………………………………………
๑๑)โลกที่สงบสุขที่สุดคือ..................................................................................................................
๑๒)ทวีปที่เราอาศัยอยู่เรียกว่า......................ทวีปนี้มีความพิเศษกว่าทวีปอื่นเพราะ...........................
๑๓)ไตรภูมิพระร่วงมีคุณค่าต่อด้านต่างๆต่อไปนี้อย่างไรบ้าง
๑.คุณค่าด้านวรรณคดี
...........................................................................................................................................................
๒.คุณค่าด้านศาสนา...........................................................................................................................................................
๓.คุณค่าด้านจริยธรรม...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๔.คุณค่าด้านประเพณีและวัฒนธรรม...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................




ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                                                                              
                                                                                 ลงชื่อ……………………………………….
                                                                                           (นางจอมขวัญ             ทองอยู่ยืด)
ความเห็นรองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                                                                        
                                                 ลงชื่อ…………………………….
                                                             (นายกมล                  เฮงประเสริฐ)    









บันทึกหลังการสอน

ชั้น
บรรยากาศการเรียน
ปัญหาอุปสรรค
การปรับปรุงแก้ไข
๖/๑

















๖/๒











๖/๓













โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ  เขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี  เขต ๒
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้            ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่            เรื่อง   สามก๊ก
ช่วงชั้นที่        ปีที่ ๓   รายวิชา  ภาษาไทย    รหัสวิชา   ท๔๓๑๐๑       เวลาเรียน   ...๘...    ชั่วโมง
********************************************************************************
๑.สาระการเรียนรู้
        สาระการเรียนรู้หลัก
        สาระที่    :  วรรณคดีและวรรณกรรม
       สาระการเรียนรู้ที่นำมาบูรณาการ
       สาระที่ ๑ : การอ่าน
       สาระที่ ๒ : การเขียน
       สาระที่ ๓ : การฟัง ดู  พูด
       สาระที่ ๔ : หลักการใช้ภาษา
      บูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆ :  กลุ่มสาระฯศิลปะ
.มาตรฐานการเรียนรู้
     ท ๕.: เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
 และนำมาใช้ในชีวิตจริง
. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
      ท ๕.๑.๑ : สามารถอ่านบทกวีนิพนธ์ ประเภทกาพย์ ร่าย โคลง ฉันท์ ลิลิต บทละคร และวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น นวนิยาย สารคดี และบทความ สามารถใช้หลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้นพิจารณาเรื่องที่อ่าน โดยวิเคราะห์องค์ประกอบของงานประพันธ์แต่ละชนิดเพื่อประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้อหา และคุณค่าทางสังคมและนำไปใช้ในชีวิตจริง
.ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
๔.๑อ่านเนื้อเรื่องแล้วเขียนสรุปใจความสำคัญได้
๔.๒วิเคราะห์วิจารณ์สารจากการฟังและการดูได้
๔.๓ใช้วิจารณญาณแปลความ ตีความ ขยายความเรื่องที่อ่านได้
๔.๔สรุปคุณค่าวรรณคดีด้านภาษา ด้านเนื้อหา และด้านสังคมได้
๔.๖มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด(คิดประเมินค่า  คิดแก้ปัญหา)
๔.๗อธิบายความแตกต่างระหว่างภาษาไทยสมัยก่อนกับสมัยปัจจุบันๆได้
๔.๘มีมารยาทในการฟัง พูด การอ่าน การเขียน
๕.สาระสำคัญ
·       การอ่านเนื้อเรื่องอย่างเข้าใจ
·       การวิเคราะห์วิจารณ์สารจากการฟังและการดู
·       การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
·       การพินิจคุณค่าวรรณคดี
·       ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด (คิดประเมินค่า  คิดแก้ปัญหา)
·       การพิจารณาภาษาสมัยก่อนเปรียบเทียบกับสมัยปัจจุบัน
.กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑
๑.นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง สามก๊ก  ภายในเวลาที่ครูกำหนด
๒.ครูนำภาพตัวละครเรื่องสามก๊กมาให้นักเรียนดูแล้วซักถามเกี่ยวกับลักษณะเด่นของตัวละครเพื่อตรวจสอบพื้นฐานความรู้นักเรียน
๓.ครูให้นักเรียนอ่านบทวิเคราะห์และสังเขปเรื่องจากหนังสือแบบเรียนพร้อมสรุปสาระสำคัญลงใน
ใบกิจกรรมที่ ๑
ชั่วโมงที่ ๒
๑.ครูนำวีดีทัศน์เรื่องสามก๊กมาให้นักเรียนดู
๒.ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปใจความสำคัญของเรื่องจากการชมวีดีทัศน์
ชั่วโมงที่ ๓
๑.ครูสุ่มนักเรียนเล่าเรื่องย่อจากหนังสือแบบเรียนตอนที่นักเรียนศึกษามา(ครูสั่งเป็นการบ้าน)
๒.ครูนำหนังสือการ์ตูนเรื่องสามก๊กมาให้นักเรียนศึกษาเรื่องสำนวนโวหารโดยให้หาสำนวนที่แตกต่างจากปัจจุบันพร้อมอธิบายความหมาย(งานเดี่ยว)
ชั่วโมงที่ ๔
๑.ครูเรียกถามนักเรียนประมาณ ๑๐ คนเรื่องสำนวนที่นักเรียนค้นคว้ามา ต่อจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแล้วให้นักเรียนบันทึกผลการสรุปลงสมุดของตนเอง
ชั่วโมงที่ ๕-๖
๑.ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเพื่อค้นคว้าหาคำตอบจากเนื้อเรื่องจากใบงานที่ครูนำมา
๒.นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงาน ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจผลงาน


ชั่วโมงที่ ๗
๑.ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเรื่องการพิจารณาภาษาจากเรื่องสามก๊กในตอนที่เรียน
๒.นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด (คิดประเมินค่า  คิดแก้ปัญหา)
๓.ครูให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะนิสัยของตัวละครในเชิงประเมินค่า
ชั่วโมงที่ ๘
๑.ครูและนักเรียนร่วมสรุปเนื้อหาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด
(คิดประเมินค่า  คิดแก้ปัญหา)  ต่อจากนั้นครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์ที่ครูกำหนดให้ต่อไปนี้
·       ถ้านักเรียนเป็นเล่าปี่จะใช้วิธีสู้รับกับกองทัพของโจโฉอย่างไร
·       นักเรียนจะมีวิธีผูกใจกวนอูด้วยวิธีใดจึงจะสามารถมัดใจกวนอูได้
๒.นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง สามก๊ก  ภายในเวลาที่ครูกำหนด
.สื่อการเรียนรู้
    .แถบวีดีทัศน์เรื่องสามก๊ก
   .หนังสือแบบเรียนภาษาไทย
   .รูปภาพตัวละคร
   .แบบทดสอบก่อน-หลังเรียนเรื่องสามก๊ก 
   ๕.หนังสือการ์ตูนเรื่องสามก๊ก
.การวัดและประเมินผล
.๑ผู้ประเมิน       w   ครูประเมินนักเรียน
                             w   นักเรียนประเมินกันเอง
.๒สิ่งที่ต้องการประเมิน  
..๑ด้านความรู้(ประเมินจากแบบทดสอบ  การตอบคำถาม  การทำกิจกรรมกลุ่ม)
..๒ด้านทักษะ(สังเกตจากการใช้ภาษาทั้งการฟัง  การพูด  การอ่าน  การเขียน)
..๓ด้านคุณธรรม
-สังเกตจากความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
-สังเกตความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
-ความขยันใฝ่รู้
-สังเกตความซื่อสัตย์สุจริตตนเอง
-การกล้าแสดงออกในการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
.๓ประเด็นการประเมิน
..แบบทดสอบ
-แบบทดสอบจากการทำใบงานการจับใจความ
..การตอบคำถาม
-การตอบคำถามของครูในขณะที่ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
..การทำกิจกรรม
-การทำกิจกรรมกลุ่ม(การทำใบงานกลุ่ม)
-การแสดงความคิดเห็นในขณะดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
.๔เกณฑ์การให้คะแนน
..๑เกณฑ์การประเมินการทำกิจกรรมกลุ่ม
ประเด็นการ
ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน


.ความรับผิดชอบต่อหน้าที่

ทุกคนมีหน้าที่และรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง

มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ ๑ คน
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ๒ คน
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ๒ คนขึ้นไป
.เวลา

เสร็จก่อนกำหนดและงานมีคุณภาพ
เสร็จตามกำหนดและงานมีคุณภาพ
เสร็จไม่ทันตามกำหนดแต่งานมีคุณภาพ
เสร็จไม่ทันตามกำหนดและงานไม่มีคุณภาพ
.ความร่วมมือในการทำงาน
ทุกคนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่
๘๐%ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
๖๐%ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความ
ร่วมมือ
๖๐%ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความ
ร่วมมือ
.ภาษา
.ใช้ภาษาเหมาะสม
.ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
ใช้ภาษาเข้าใจยาก
ใช้ภาษาไม่ค่อยเหมาะสมและเข้าใจยาก










..๒เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน

ประเด็นการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน


.เนื้อหา
เนื้อหาตรงกับข้อเท็จจริง
มีเนื้อหาตรงประเด็นในเนื้อหาบ้าง
มีเนื้อหาตรงประเด็นในเนื้อหาเพียง ๑ ประเด็น
เนื้อหาไม่ตรงประเด็นในเนื้อหา
.องค์ประกอบการวิเคราะห์
วิเคราะห์ได้ครบทุกประเด็นตามที่ได้
มอบหมาย

วิเคราะห์ได้ตรงประเด็นเพียง
๑ ประเด็น
วิเคราะห์ได้ไม่ค่อยตรงประเด็นตามที่ได้มอบหมาย
วิเคราะห์ได้ไม่ตรงประเด็นตามที่ได้
มอบหมายเลย
.การใช้ภาษา
.ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
.ใช้ภาษาเหมาะสม
.มีการใช้สำนวนโวหาร
.ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
.ใช้ภาษาเหมาะสม
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย

ใช้ภาษาเข้าใจยาก
และไม่ใช้ภาษาเหมาะสม



.๕เกณฑ์การประเมินผล
-ในการทำแบบทดสอบหลังเรียนนักเรียนต้องได้ผลการเรียนที่มากกว่าการทดสอบก่อนเรียน
  


                                                                              ลงชื่อ…………………………………….ผู้สอน
                                                                                         (นางจอมขวัญ      ทองอยู่ยืด)








                 ใบกิจกรรมที่ ๑  เรื่อง สามก๊ก       วิชาภาษาไทย              ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

         ชื่อ นามสกุล........................................................................เลขที่......................ห้อง.................

จงเติมข้อความและตอบคำถามต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
P บทวิเคราะห์
๑)เรื่องสามก๊ก ได้รับการยกย่องจาก………………………………………………………………….
๒)สามก๊ก เป็นผลงานการแปลของ……………………………………………………………………
๓)สามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง(หน) ได้รับการชื่นชม เพราะ………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
๔)ต้นเรื่องสามก๊กฉบับภาษาจีน ได้มาจาก…………………………………………
๕)เจ้าพระยาพระคลัง(หน) แปลสามก๊ก จากฉบับภาษาจีน ชื่อ……………………………
P สังเขปเรื่อง
๑)เนื้อเรื่องสามก๊ก เริ่มต้นในสมัยของ………………………………………………………………….
๒)เล่าปี่ ได้ปูนบำเหน็จไปครองเมืองเมืองหนึ่งเพราะเหตุใด………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
๓)โจโฉ ได้เป็นเจ้าเมืองได้อย่างไร…………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
๔)ขงเบ้ง เป็นที่ปรึกษาของ……………………………………………………………………….
๕)เหตุใด กองทัพเล่าปี่ จึงชนะกองทัพของโจโฉ………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
๖)เรื่องสามก๊ก ได้แบ่งแผ่นดินเป็น ๓ ก๊ก ได้แก่…………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………


P จงเล่าเรื่องย่อสามก๊กตอนที่เรียน
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
     
     ย่อความเรียง เรื่อง.........................................................ของ....................................................
 จาก...........................................................................ความว่า (หน้า ๕๘ ๖๐)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………